0
สมาชิก
ค้นฎีกา
ศาลยุติธรรม
กระทรวงยุติธรรม
สภาทนายความ
กรมที่ดิน
กรมบังคับคดี
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
เกี่ยวกับสำนักงาน บริการของเรา ทนายความ ดาวน์โหลดกฏหมาย ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
สถิติเว็บไซต์
เปิดเว็บเมื่อ : 2013-01-07
จำนวนสมาชิก : 452 คน
ปรับปรุงเมื่อ : 2024-12-22
จำนวนครั้งที่ชม : 8,816,675 ครั้ง
Online : 71 คน
Photo

    บริการ

    ในการดำเนินงานให้บริการด้านวิชาชีพกฎหมาย ของสำนักกฎหมายสรรพเนติ ได้แบ่งโครงสร้างการดำเนินงานเป็นฝ่ายต่างๆ ดังนี้
     
     

    ฝ่ายงานคดี

                    ให้บริการด้านอรรถคดีทั้งปวง รวมทั้งการบังคับคดีให้แก่องค์กรธุรกิจหลายประเภท และการดำเนินคดีเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ
     
     
    ฝ่ายที่ปรึกษา
                    ให้บริการด้านงานปรึกษา และงานเกี่ยวกับธุรกรรมต่างๆ ในประเทศ ตลอดจนการให้คำปรึกษาแก่งานโครงการต่างๆ รวมทั้งให้บริการด้านอื่นๆ ที่มิใช่คดีความ เช่น การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท และการขอออกใบอนุญาตการทำงานแก่ชาวต่างประเทศ ต่างด้าว เป็นต้น
     
     

    ขอบเขตความรับผิดชอบงานด้านกฎหมายของสำนักงาน

    คดีครอบครัวและผู้เยาว์
     

    vผู้เยาว์ขอศาลมีคำสั่งทำการสมรสกรณีอายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์

    1. หญิงหม้ายขอศาลมีคำสั่งทำการสมรสก่อน 310 วัน นับแต่ขาดจากการสมรสเดิม
    2. ผู้เยาว์ขอศาลมีคำสั่งทำการสมรส กรณีไม่มีผู้มีอำนาจให้ความยินยอม หรือมีแต่ไม่ให้ความยินยอม หรือไม่อยู่ในสภาพที่อาจให้ความยินยอม
    1. หรือโดยพฤติกรรมผู้เยาว์ไม่อาจขอความยินยอมได้

    vคู่สมรสขอให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้แยกกันอยู่ต่างหากเป็นการชั่วคราว

    1. ขอให้ศาลมีคำสั่งแสดงว่าบุตรผู้เยาว์ซึ่งเกิดจากการสมรสซ้อนเป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของบิดา
    1. ขอศาลมีคำสั่งเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาในสัญญาก่อนสมรส
    2. ขอให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตแทนความยินยอมของคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งในการจัดการสินสมรส
    3. ฟ้องให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมการจัดการสินสมรสซึ่งจะต้องจัดการร่วมกันหรือต้องได้รับความยินยอมจากคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่ง
    1. ขอให้ศาลมีคำสั่งให้ลงชื่อสามีหรือภรรยาเป็นเจ้าของร่วมกันในสินสมรสจำพวกที่ระบุไว้ในมาตรา 456 หรือที่มีเอกสารเป็นสำคัญ
    1. ขอให้ศาลมีคำสั่งอนุญาตจัดการทรัพย์สินของผู้เยาว์
    2. ขอให้ศาลมีคำสั่งให้การสมรสเป็นโมฆะ
    3. ฟ้องหย่าในกรณีหย่าโดยความยินยอม
    4. ฟ้องหย่าทั่วไป
    5. ขอให้ศาลมีคำสั่งจดทะเบียนรับเด็กเป็นบุตร
    6. ฟ้องคดีขอให้รับเด็กเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย
    7. ฟ้องคดีไม่รับเด็กเป็นบุตร
    8. ฟ้องคดีขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
    9. ฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูในกรณีคู่สมรสฝ่ายหนึ่งวิกลจริตและขอถอดถอน-แต่งตั้งผู้อนุบาล
    10. ฟ้องเรียกค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร
    1. คดีเกี่ยวกับอำนาจปกครอง

    vขอให้ศาลมีคำสั่งเป็นผู้อนุบาล

    1. ขอให้ศาลมีคำสั่งเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ

    คดีที่ดินและคดีขับไล่

    1. หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
    2. หนังสือแสดงสิทธิครอบครอง
    3. การฟ้องขับไล่ออกจากสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    4. การฟ้องขับไล่กรณีมีปัญหาเกี่ยวกับสิทธิครอบครอง
    5. การครอบครองทรัพย์สินระหว่างเป็นความกัน
    6. การเปลี่ยนลักษณะแห่งการยึดถือ
    7. การฟ้องขับไล่กรณีมีปัญหาเรื่องการแย่งการครอบครอง
    8. การฟ้องขับไล่กรณีมีการครอบครองปรปักษ์
    1. การฟ้องขับไล่กรณีมีปัญหาเรื่องภาระจำยอม
    2. การฟ้องขับไล่ที่มีมูลเหตุจากการเช่า
    3. ประเด็นการฟ้องขับไล่กับการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ให้เช่า
    4. ประเด็นปัญหาเรื่องผู้เช่ายังไม่ได้ครอบครองทรัพย์ที่เช่า กับการฟ้องขับไล่บุคคลที่อาศัยอยู่ในสถานที่เช่าอยู่ก่อนแล้ว
    1. ทางแก้สำหรับผู้เช่าที่ต้องการจะฟ้องขับไล่ผู้ที่อาศัยอยู่ในสถานที่เช่ามาก่อน
    2. การฟ้องขับไล่กับปัญหาเรื่องคำมั่นจะให้เช่า
    3. ปัญหาการฟ้องขับไล่กับสัญญาต่างตอบแทนพิเศษยิ่งกว่าสัญญาเช่าธรรมดา
    4. ขอให้ศาลมีคำสั่งแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินโดยการครอบครองปรปักษ์
    5. ฟ้องขับไล่(กรณีสร้างกำแพงรุกล้ำ)
    6. ฟ้องขับไล่(กรณีขายฝาก)
    7. ฟ้องขับไล่(กรณีเช่าทรัพย์)
    8. ฟ้องขับไล่(กรณีเช่าซื้อ)
    9. ฟ้องขับไล่(กรณีสร้างถนนรุกล้ำ)
    10. ฟ้องขับไล่(กรณีขอรังวัดที่ดินและถูกคัดค้าน)
    11. ฟ้องขับไล่(กรณีขออาศัย)
    1. ฟ้องขับไล่(กรณีวัดฟ้องขับไล่)
    2. ฟ้องขับไล่(กรณีสัญญาจะซื้อจะขาย)
    3. ฟ้องขับไล่(กรณีสัญญาจะซื้อจะขาย ประนีประนอมยอมความ ฉ้อฉล บริวาร)
    4. ฟ้องขับไล่(กรณีตาม พรบ.การเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมฯ)
    5. การร้องขัดทรัพย์โดยอ้างการครอบครองปรปักษ์
    6. การร้องครอบครองปรปักษ์แบบสืบสิทธิ
    7. คำฟ้องภาระจำยอม ขอให้เปิดทางภาระจำยอม
    8. คำฟ้องขอจดทะเบียนภาระจำยอม
    9. คำฟ้องเรื่องทางจำเป็น ขอให้เปิดทางเดิน

    คดีแพ่งทั่วไป

    1. คดีบัตรเครดิต
    2. คดีกู้ยืม
    3. คดีจำนองและบังคับจำนอง
    4. เช็ค(ความรับผิดทางแพ่ง)
    5. ที่ดิน
    1. คดีฟ้องแบ่งแยกกรรมสิทธิ์
    2. ฟ้องให้แบ่งหรือขายทอดตลาดที่ดิน
    3. มรดก
    4. ครอบครัว
    5. ละเมิด
    6. คดีความรับผิดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ

    vเพิกถอนนิติกรรมสัญญา

    1. คดีตัวแทนนายหน้า
    2. คดีการเวนคืนที่ดิน
    3. คดีคำสั่งและวิธีทางการปกครอง
    4. คดีรถชน
    1. ค้ำประกัน
    2. สัญญาประนีประนอมยอมความ

    vฟ้องไล่เบี้ย

    1. รับสภาพหนี้
    2. พินัยกรรม
    3. คดีบริษัทประกันภัย
    4. คดีขอเป็นผู้จัดการมรดก
    1. ฟ้องแพทย์
    2. ปัญหาผู้ประสบภัยจากรถ
    3. ฟ้องหย่า แบ่งสินสมรส
    4. ขอรับรองบุตร
    5. คนไร้ความสามารถ
    6. ขอทำนิติกรรมแทนคนไร้ความสามารถ
    7. ซื้อขาย

    vความรับผิดของทายาท

    1. ขอคุ้มครองชั่วคราวก่อนศาลพิพากษา
    2. คดีเรียกเงินค่าชดเชย ค่าจ้าง เลิกจ้างไม่เป็นธรรม สินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า
    3. คดีแชร์
    1. ปัญหาอายุความแพ่ง
    2. หุ้นส่วนจำกัด และบริษัทจำกัด
    1. เจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
    2. คดีแพ่งทุกประเภท

    คดีอาญา

    1. ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
    2. ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
    3. ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
    4. ความผิดเกี่ยวกับศาสนา
    5. ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

    vความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน

    1. ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
    2. ความผิดเกี่ยวกับการค้า
    3. ความผิดเกี่ยวกับเพศ
    4. ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
    5. ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
    1. ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
    2. ความผิดลหุโทษ
    3. วิธีและการขอให้ศาลรอการลงโทษ/รอการกำหนดโทษ
    4. อายุความคดีอาญา
    5. การจับ ค้น ขัง ปล่อย
    6. การขอปล่อยตัวชั่วคราว
    7. คดีฉ้อโกง
    8. คดียักยอก
    9. คดีเช็ค
    1. คดีลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า
    2. คดีอาญาทุกประเภท

    การบังคับคดี

    1. การยึดทรัพย์สินของลูกหนี้ และการอายัดสิทธิเรียกร้อง
    2. การฟ้องคดีอาญาข้อหาฉ้อโกงเจ้าหนี้
    3. การบังคับคดีแพ่ง และคดีอาญา
    4. การค้ำประกันในศาล
    5. ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี
    1. การงดการบังคับคดี
    2. การถอนการบังคับคดี
    3. การเพิกถอนการขายทอดตลาด
    4. การบังคับคดีฟ้องขับไล่
    5. การร้องขอกันส่วน
    6. การร้องขัดทรัพย์
    7. การขอรับชำระหนี้จำนองและหนี้บุริมสิทธิ
    8. การขอเฉลี่ยทรัพย์
    9.  
    10. อัตราค่าบริการที่ปรึกษากฎหมาย
      1. ค่าบริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายรายเดือนๆ ละ 5,000 บาท หรือแล้วแต่จะตกลง
    11. ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของกิจการและปริมาณของงาน
      อัตราค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ และระยะเวลาดำเนินการ การจดทะเบียนธุรกิจ
      1. ตั้งบริษัท (ทุนจดทะเบียน 1 ล้านบาท)
      1.1 ค่าบริการสำนักงาน 5,000 บาท
      1.2 ค่าธรรมเนียมจดบริคณห์สนธิ 700 บาท
      1.3 ค่าธรรมเนียมจดจัดตั้ง 5,300 บาท
      1.4 ค่าคัดถ่ายรับรองเอกสาร 700 บาท
      รวมเป็นเงิน 11,700 บาท
      **** (ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 5 วัน )
       
      2. ตั้งห้างหุ้นส่วน
      2.1 ค่าบริการสำนักงาน 2,000 บาท
      2.2 ค่าธรรมเนียมจัดตั้ง หุ้นส่วนไม่เกิน 3 คน 1,110 บาท
      2.3 ค่าคัดถ่ายรับรองเอกสาร 350 บาท
      2.4 ขอบัตรภาษี และจดภาษีมูลค่าเพิ่ม 1,000 บาท
      รวมเป็นเงิน 4,460 บาท
      **** (ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 2 วัน)
       
       
      3. ตั้งร้านค้า / ทะเบียนพาณิชย์
      3.1 ค่าบริการสำนักงาน 1,500 บาท
      3.2 ค่าธรรมเนียม 110 บาท
      3.3 ค่าคัดถ่ายรับรองเอกสาร 150 บาท
      3.4 ขอบัตรภาษี และจดภาษีมูลค่าเพิ่ม 1,000 บาท
      รวมเป็นเงิน 2,760 บาท
      **** (ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 1 วัน )
       
      4. แก้ไข รายการจดทะเบียน บริษัท และ ห้างหุ้นส่วน ทุกกรณี
      4.1 ค่าบริการสำนักงาน รายการแรก 2,000 บาท (รายการต่อไปรายการละ 1,000 บ.)
      4.2 ค่าธรรมเนียม(จ่ายตามจริงแล้วแต่รายการที่แก้ไข) - บาท
      4.3 ค่าคัดถ่ายรับรองเอกสาร (จ่ายตามจริง) - บาท
      4.4 แก้ไข ขอบัตรภาษี ภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่ย้ายที่ตั้ง 1,000 บาท (ย้ายที่ตั้งคิด 2,000 บาท)
      รวมเป็นเงิน - บาท
      **** (ระยะเวลาดำเนินการประมาณ 1 วัน หากแก้ไขบริคณห์สนธิจะต้องประชุม 2 ครั้ง)
       
      5. เลิก และ ชำระ บัญชี บริษัท และ ห้าง
      5.1 ค่าบริการสำนักงาน จดเลิก 3,000 บาท
      5.2 ค่าบริการสำนักงาน จดเสร็จการชำระบัญชี 5,000 บาท
      5.3 ค่าธรรมเนียมจดเสร็จ ประกาศ 1,300 บาท
      5.4 ค่าคัดถ่ายรับรองเอกสาร 240 บาท
      5.5 คืนบัตรภาษี และจดเลิกภาษีมูลค่าเพิ่ม 2,000 บาท
      รวมเป็นเงิน 11,540 บาท
      **** ไม่รวมค่าจัดทำงบการเงิน ค่าสอบบัญชี และค่ารายงานการชำระบัญชีนอกจากรอบแรก
      **** (ระยะเวลาดำเนินการเลิกขั้นต่ำ 1 วัน ต้องประชุม 2 ครั้ง รวม 23 วัน)
      ***(ระยะเวลาดำเนินการจดเสร็จขั้นต่ำ 1 วัน การชำระบัญชีแล้วแต่จะชำระบัญชีเสร็จ)
       
      6. จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมขอบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี
      6.1 ค่าบริการสำนักงานจดภาษีมูลค่าเพิ่ม 2,000 บาท
      6.2 ค่าธรรมเนียม (ไม่มี) บาท
      รวมเป็นเงิน 2,000 บาท
      (ระยะเวลาดำเนินการขั้นต่ำ 1 วัน แล้วแต่ความพร้อมของเอกสาร)
       
      7. เลิก ย้าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม
      7.1 ค่าบริการสำนักงาน 3,500 บาท
      7.2 ค่าธรรมเนียม (ไม่มี) บาท
      รวมเป็นเงิน 3,500 บาท
      **** (ระยะเวลาดำเนินการขั้นต่ำ 1 วัน แล้วแต่ความพร้อมของเอกสาร)
       
      8. ใบอนุญาตทำงานคนต่างด้าว/ต่อใบอนุญาตทำงาน/ต่อวีซ่า
      8.1 ค่าบริการสำนักงาน 15,000 บาท
      8.2 ค่าธรรมเนียม (รวมแล้ว) บาท
      รวมเป็นเงิน 15,000 บาท
      ****(ระยะเวลาแล้วแต่ความพร้อมของเอกสาร)
      *** ค่าบริการสามารถปรับลดลงได้ หากมีหลายคำขอ
       
      9. จดเครื่องหมายการค้า
      9.1 ค่าบริการสำนักงานต่อ 1 คำขอ 10,000 บาท (เพิ่มคำขอปรับลดตามส่วน)
      9.2 ค่าธรรมเนียมต่อ 1 ชนิดสินค้า 800 บาท (เพิ่มรายการชนิดละ 800 บาท)
      9.3 ไม่รวมค่าจัดทำฉลาก
      รวมเป็นเงิน 10,800 บาท
      **** (ระยะเวลา 6-8 เดือน )
      *** ค่าบริการสามารถปรับลดลงได้ หากมีหลายคำขอ
       
      1. ค่าบริการดังกล่าวเฉพาะในเขตกรุงเทพและปริมณฑล
      2. กรณีจังหวัดอื่นต้องจ่ายค่าเดินทาง ค่าที่พัก ค่าเบี้ยเลี้ยงเพิ่มเติม ซึ่งแล้วแต่จะตกลง
      3. ระยะเวลาเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับความพร้อมของการจัดเตรียมเอกสารของลูกค้า
       
       
      ค่าบริการในการว่าความในศาลชั้นต้น
      1.คดีแพ่ง
      1.1)คดีไม่มีข้อพิพาทหรือคดีไม่มีทุนทรัพย์
      เป็นคดีที่มีการร้องขอฝ่ายเดียว เพื่อใช้สิทธิทางกฎหมาย เช่น คดีร้องจัดการมรดก
    12. ,คดีร้องขอทำนิติกรรมแทนผู้เยาว์ หรือบุคคลไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ เป็นต้น
      1. ค่าว่าความคิดขั้นต่ำคดีละ 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
        หมายเหตุ กรณีมีการคัดค้านหรือมีการต่อสู้คดี ก็จะมีการตกลงกันอีกครั้ง
        1.2)คดีมีข้อพิพาทหรือคดีมีทุนทรัพย์
        - กรณีที่ท่านเป็นโจทก์หรือโจทก์ร่วม ท่านต้องชำระค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีดังต่อไปนี้
         
        คดีทุนทรัพย์ (บาท)  ค่าทนายความ(บาท) ค่าบังคับคดี(บาท) ค่าว่าความ(ร้อยละ)
        ไม่เกิน 100,000 ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี ขึ้นกับข้อตกลงเป็นกรณี 5-10
        100,001 ถึง 500,000 15,000-30,000 10,000 5-10
        500,001 ถึง 1,000,000 30,000-50,000 15,000 5-10
        1,000,001 ถึง 3,000,000 50,000-60,000 15,000 5-10
        3,000,001 ถึง 5,000,000 60,000-70,000 20,000 5-10
        5,000,001 ถึง 10,000,000 70,000-100,000 20,000 5-10
        10,000,001 ถึง 30,000,000 100,000-150,000 30,000 5-10
        30,000,001 ถึง 50,000,000 150,000-200,000 30,000 5-10
        50,000,001 บาทขึ้นไป 200,000 บาทขึ้นไป 30,000บาทขึ้นไป 5-10
        1.3) กรณีจ้างว่าความแบบเหมารวม ขึ้นอยู่กับการตกลงแล้วแต่กรณี
    13. โดยท่านต้องชำระค่าว่าความทั้งหมด โดยไม่มีการคิดค่าว่าความในอัตราร้อยละ
      เงื่อนไขการดำเนินงาน
      1.) ท่านต้องชำระค่าฤชาธรรมเนียม(ค่าขึ้นศาล)และค่าใช้จ่ายต่างๆ
    14. ในการนำส่งคำคู่ความเองเป็นค่าธรรมเนียมตามปกติของศาล (ตามใบเสร็จรับเงิน)
    15. ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
      -คดีมโนสาเร่ ทุนทรัพย์ที่ฟ้อง ไม่เกิน 300,000 บาท เสียค่าขึ้นศาลไม่เกิน 2,000 บาท
      -คดีมีแพ่งสามัญ ทุนทรัพย์ที่ฟ้อง ไม่เกิน 50 ล้านบาท เสียค่าขึ้นศาล ร้อยละ 2
    16. แต่ไม่เกิน 200,000 บาท ส่วนที่เกิน 50 ล้านบาทขึ้นไป เสียค่าขึ้นศาล ร้อยละ 0.1 บาท
      -ค่านำหมาย,ค่าประกาศหนังสือพิมพ์ (ถ้ามี),ค่าพาหนะของพยานหมาย (ถ้ามี)เป็นต้น
      2.)ท่านต้องชำระค่าทนายความตามทุนทรัพย์ก่อนที่จะทำคำฟ้องยื่นต่อศาล
      3.)ค่าบังคับคดี บริษัทฯ จะเรียกเก็บจากท่านต่อเมื่อมีการบังคับคดี
    17. หากไม่มีการบังคับคดีท่านไม่ต้องจ่ายค่าบังคับคดี
      4.)ค่าว่าความ (อัตราร้อยละ) ทางบริษัทฯ คิดตามจำนวนทุนทรัพย์ที่ฟ้อง
    18. (ตามฟ้อง) และบริษัทฯ จะเรียกเก็บจากท่านต่อเมื่อท่านได้รับเงิน
    19. จากลูกหนี้หรือจำเลยแล้ว(ตามเกณฑ์เงินสดที่ท่านได้รับ)
      5.)กรณีทนายความไปศาลต่างจังหวัด บริษัทฯ จะเรียกเก็บอัตรา
    20. ค่าเดินทางไปศาลในแต่ละครั้ง ตามอัตราดังต่อไปนี้
      ระยะทางไป-กลับ ไม่เกิน 300 กม. คิดค่าเดินทาง = 3,000 บาท
      ระยะทางไป-กลับ 300 – 500 กม. คิดค่าเดินทาง = 4,000 บาท
      ระยะทางไป-กลับ 500 กม. ขึ้นไป คิดค่าเดินทาง = 6,000 บาท
      สำหรับในเขตกรุงเทพมหานคร ท่านไม่ต้องชำระค่าเดินทางในส่วนนี้
      หมายเหตุ ค่าเดินทางดังกล่าวไม่รวมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง เช่น
    21. ค่าที่พัก,ค่าตั๋วรถเดินทาง,ค่าธรรมเนียมอื่นๆที่ทางราชการหรือเอกชนออกให้
    22. (ตามใบเสร็จรับเงิน)
      6.)คดีนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว จะตกลงกันตามความยากง่ายของการดำเนินคดี
      7.)การว่าจ้างมีการทำสัญญาว่าจ้างว่าความทุกครั้ง เพื่อให้ท่านเกิด
    23. ความมั่นใจในการจ้างทนายความ
      - ในกรณีที่ท่านเป็นจำเลยหรือจำเลยร่วมในคดีแพ่ง
      ในคดีที่มีการร้องสอดหรือร้องคัดค้านให้เป็นคดีมีข้อพิพาท คิดค่าว่าความ
    24. จำนวน 15,000 บาท(หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) คดีที่ท่านถูกฟ้องเป็นจำเลยในคดีแพ่ง
      ก.)คดีที่มีข้อพิพาทจากมูลละเมิด คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 20,000 บาท
    25. (สองหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
      ข.)คดีที่มีข้อพิพาทจากนิติกรรมสัญญา คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 20,000 บาท
    26. (สองหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
      2.คดีอาญา
      2.1)กรณีที่ท่านเป็นโจทก์หรือโจทก์ร่วม
      -คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เช่น ลักทรัพย์,ปล้นทรัพย์,ชิงทรัพย์,ฉ้อโกง,ยักยอกทรัพย์ เป็นต้น
      -คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย เช่น ฆ่าคนตาย,ทำร้ายร่างกาย เป็นต้น
      -คดีความผิดเกี่ยวกับเอกสาร,ชื่อเสียง,คดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
    27. ,ภาษีอากร และอื่นๆ
      คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 40,000 บาท (สี่หมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
      2.2)กรณีที่ท่านเป็นจำเลย
      -คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เช่น ลักทรัพย์,ปล้นทรัพย์,ชิงทรัพย์,ฉ้อโกง,ยักยอก เป็นต้น
      -คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย เช่น ฆ่าคนตาย,พยายามฆ่า,ทำร้ายร่างกาย เป็นต้น
      -คดีความผิดเกี่ยวกับเอกสาร,ชื่อเสียง,คดีทรัพย์สินทางปัญญา และอื่นๆ
      -คดีเกี่ยวกับภาษีอากร
      -คดีเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ
      คิดค่าว่าความขั้นต่ำ ตั้งแต่ 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) ขึ้นไป
      หมายเหตุ
      1.)หากมีค่าฤชาธรรมเนียมศาล หรือมีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่านต้องเป็นผู้ออกค่า
    28. ใช้จ่ายเอง (ตามใบเสร็จรับเงิน)
      2.)กรณีทนายความเดินทางไปศาลต่างจังหวัด บริษัทฯ จะเรียกเก็บค่า
    29. เดินทางตามอัตราของบริษัทฯ
      3.)คดีนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว จะตกลงกันตามความยากง่ายของการดำเนินคดี
      ค่าบริการในการทำคดีในศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา
      1.)หากคดีมีการอุทธรณ์ บริษัทฯ คิดค่าบริการ ดังต่อไปนี้
      1.1)ค่าทำคำฟ้องอุทธรณ์ ขั้นต่ำคดีละ 20,000 บาท (สองหมื่นบาท)
      1.2)ค่าทำคำแก้อุทธรณ์ ขั้นต่ำคดีละ 10,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาท)
      2.)หากคดีมีการฎีกา บริษัทฯ คิดค่าบริการ ดังต่อไปนี้
      2.1)ค่าทำคำฟ้องฎีกา ขั้นต่ำคดีละ 25,000 บาท (สองหมื่นห้าพันบาท)
      2.2)ค่าทำคำแก้ฎีกา ขั้นต่ำคดีละ 20,000 บาท (สองหมื่นบาท)
      หมายเหตุ หากท่านประสงค์จะให้ทนายความเดินทางไปพบ ณ
    30. ที่ทำการของท่าน หรือที่อื่นใดตามที่ท่านกำหนด บริษัทฯ คิดค่าเดินทาง
    31. จำนวน 2 ,000 บาท (สองพันบาทถ้วน) เฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร
    32. และปริมณฑล ส่วนต่างจังหวัดคิดค่าเดินทางตามอัตราที่บริษัทฯ กำหนด